รถเข็นไต่บันไดแบบไฟฟ้า Electric Stair Climber ตอบโจทย์การยกของหนักขึ้นบันได

             à¸£à¸–เข็นไต่บันไดแบบไฟฟ้า Electric Stair Climber à¸«à¸£à¸·à¸­à¸£à¸–เข็นปีนบันไดระบบไฟฟ้า เป็นนวัตกรรมรูปแบบใหม่จากแบรนด์ XSTO à¹ƒà¸™à¸à¸²à¸£à¸‚นของที่มีน้ำหนักมาก ขึ้น-ลงบันไดหรือชานชาลาโดยที่คุณไม่ต้องเปลืองแรงยก ช่วยขนย้ายของจากชั้นบนและชั้นล่าง สามารถปีนบันไดในขณะที่บรรทุกของน้ำหนักมากได้อย่างปลอดภัย สำหรับการใช้งานรถเข็นไต่บันไดแบบไฟฟ้า Electric Stair Climber ควรเลือกรุ่นให้เหมาะกับลักษณะของสิ่งของ ซึ่งบริษัท เอ็มดี อินดัสเทรียล จำกัด ขอแนะนำ รถเข็นไต่บันไดแบบไฟฟ้า 2 รุ่นด้วยกัน ดังนี้

รถเข็นไต่บันไดแบบไฟฟ้า Electric Stair Climber
Model No: XSTO CT070B


อุปกรณ์ช่วยยกของขึ้นบันได

อุปกรณ์ช่วยยกของขึ้นบันได XSTO รุ่น CT070B à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸£à¸–เข็นปีนบันไดสำหรับงานเบาที่ขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า ตอบโจทย์ในการขนย้ายซึ่งรองรับน้ำหนักได้มากถึง 70 กก. รถเข็นมีน้ำหนักเบาไม่เกิน 14 กก. สามารถพับเก็บได้ พกพาได้ง่าย การออกแบบแทร็กยังช่วยให้ผู้ใช้ปรับทิศทางได้อย่างง่ายดาย มีกลไกการทำงานที่มีความเสถียรภาพในขณะขึ้น-ลงบันได มีความรวดเร็วในการปีนบันได เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานภาคการขนส่ง การจัดส่งสินค้า ใช้สำหรับการย้ายบ้านและอาคาร ร้านค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต โรงงาน เป็นต้น

รายละเอียดสินค้า
-    à¸ªà¸²à¸¡à¸²à¸£à¸–ปรับมุมจับและความสูงได้
-    à¸¡à¸µà¸—ี่จับพับได้และแท่นยกสำหรับจัดเก็บและขนย้ายง่าย
-    à¹ƒà¸Šà¹‰à¸‡à¸²à¸™à¸‡à¹ˆà¸²à¸¢à¹€à¸žà¸µà¸¢à¸‡à¸ªà¸±à¸¡à¸œà¸±à¸ªà¹€à¸”ียว ด้วยปุ่มควบคุมหนึ่งปุ่มสำหรับขึ้นหรือลงบันได
-    à¸Šà¸¸à¸”แบตเตอรี่แบบถอดได้พร้อมจอแสดงผลแรงดันไฟฟ้า
-    à¸£à¸°à¸šà¸šà¸„วบคุมความเร็วแบบปรับได้พร้อมระบบเบรก

 

รถเข็นไต่บันไดแบบไฟฟ้า Electric Stair Climber
Model No: XSTO CT105


อุปกรณ์ช่วยยกของขึ้นบันได แบบไฟฟ้า

 

อุปกรณ์ช่วยยกของขึ้นบันไดแบบไฟฟ้า XSTO รุ่น CT105 à¸£à¸–เข็นอลูมิเนียมแบบพับได้และน้ำหนักเบาพร้อมรางตีนตะขาบ รถเข็นปีนบันไดสำหรับงานเบาที่ขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า ตอบโจทย์ในการขนย้ายซึ่งรองรับน้ำหนักได้มากถึง 105 กก. รถเข็นมีน้ำหนักเบาอยู่ที่ 18.5 กก. ใช้งานง่าย มีความเสถียรภาพทำให้ปลอดภัยขณะขนย้ายของขึ้นลงบันได รุ่นนี้มาพร้อมกับระบบเบรก และมีรางกันลื่นยึดติดกับพื้นผิวของบันไดอย่างใกล้ชิดระหว่างการทำงาน พร้อมด้วยเข็มขัดนิรภัยสามารถช่วยคุณแก้ไขสินค้าเพื่อป้องกันไม่ให้ล้มลง ปุ่มควบคุมการทำงานแบบ Point Touch และด้ามจับที่ออกแบบตามหลักสรีรศาสตร์ ใช้งานง่ายและปลอดภัยแม้ใช้คนเพียงคนเดียว
-    à¸—ำงานต่อเนื่องความเร็วสูงสุด 35 ขั้น/นาที
-    à¹ƒà¸Šà¹‰à¹à¸šà¸•à¹€à¸•à¸­à¸£à¸µà¹ˆà¸¥à¸´à¹€à¸˜à¸µà¸¢à¸¡ โดยใช้เวลาในการชาร์จแบต 2.50 ชม.
-    à¸„วามจุของแบตเตอรี่ ทำงานอย่างต่อเนื่องได้ถึง 80 ชั้น

 

สาธิตตัวอย่างการใช้งาน อุปกรณ์ยกของขึ้นบันไดแบบไฟฟ้า Electric Stair Climber




 

 

 

รายละเอียดเพิ่มเติม
โทร. +66 86 รถเข็นขนของขึ้นบันไดแบบไฟฟ้า 944 6441 , +66 26 664 846
Line ID : sales.md
https://mdindustrial.brandexdirectory.com
www.mdindustrialproducts.com
www.mdindustrial.co.th

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

          à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


          à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ ติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

          à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


    ติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน       à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15